วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การโคลนนิ่ง (Cloning)

โคลนนิ่ง แกะ

     การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ การคัดลอก หรือการทำซ้ำ ให้มีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ

     หากกล่าวเรื่อง การโคลนนิ่ง (Cloning) ในแง่ของสิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวพันถึงเทคโนโลยีชีวภาพแล้ว
     การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ กระบวนการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศชนิดหนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตที่ถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ เหมือนกับสิ่งมีชีวิตต้นแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ก่อนแล้วทุกประการ
     โดยคำว่าโคลน (Clone) นั้นมาจากภาษากรีกจากคำว่า “Klone” ซึ่งแปลว่า แขนง กิ่ง ก้าน โดยใช้อธิบายการแบ่งตัวแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual) ของในพืชและสัตว์

     และโดยที่คำว่าโคลน จะถูกใช้เรียกสิ่งที่ถูกโคลนออกมาจากสิ่งมีชีวิตต้นแบบ

     ตัวอย่างของลักษณะสิ่งมีชีวิตที่ได้จากการโคลนนิ่ง (Cloning) เช่น มีเพศเหมือนกัน มีหมู่เลือดเหมือนกัน เป็นต้น

     หากกล่าวถึงเรื่อง การโคลนนิ่ง (Cloning) สัตว์ซึ่งปกติแล้วสืบพันธุ์โดยอาศัยเพศแล้ว
     การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาโดยไม่ใช้เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์เพศผู้หรืออสุจิของสัตว์เพศผู้ แต่ใช้นิวเคลียสจากเซลล์เต็มวัยของเซลล์ร่างกายของสัตว์เพศอะไรก็ได้ใส่ลงไปที่เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์เพศเมียหรือเซลล์ไข่โดยนำสารพันธุกรรม หรือ DNA ที่มีอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมียหรือเซลล์ไข่ออกก่อน แล้วนำเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมียหรือเซลล์ไข่ใส่ไปในตัวเพศเมียเพื่อให้คลอดออกมา เมื่อคลอดออกมาทำให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มี รูปร่าง หน้าตา ลักษณะภายนอก เหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมเกือบทุกประการ และมีพันธุกรรมเหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ ถ้าเจ้าของเซลล์เป็นเพศเมียก็จะได้สัตว์ให้เป็นเพศเมีย ถ้าเจ้าของสัตว์เป็นเพศผู้จะได้สัตว์ใหม่เป็นเพศผู้ เหมือนกับเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ


  








  หัวข้ออื่นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ (Links ภายในเว็บ ThaiBiotech.info)





หัวข้ออื่นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ (Links ภายในเว็บ ThaiBiotech.info)

หัวข้อความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Topics of biotechnology) หัวข้อความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Topics of biotechnology)
หัวข้อหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีชีวภาพ
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจำวัน
  หัวข้อย่อย เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านการแพทย์และสุขภาพ
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เด็กหลอดแก้ว (IVF) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เทคโนโลยีชีวภาพกับการรักษาโรคเบาหวาน
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เทคโนโลยีชีวภาพกับสมุนไพรหรือสมุนไพรไทย
      หัวข้อย่อยระดับ 3 สมุนไพร และ สมุนไพรไทย คือ อะไร
        หัวข้อย่อยระดับ 4 ว่านหางจระเข้ หรือ อโลเวร่า คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ประวัติของ เทคโนโลยีชีวภาพ
  หัวข้อย่อย ประเภทของเทคโนโลยีชีวภาพมีกี่ประเภท
  หัวข้อย่อย หนังดังกับ เทคโนโลยีชีวภาพ
หัวข้อหลัก พันธุวิศวกรรม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก พันธุวิศวกรรม
  หัวข้อย่อย พันธุวิศวกรรมกับเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวข้องกันอย่างไร
  หัวข้อย่อย พันธุวิศวกรรมกับการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
หัวข้อหลัก จีเอ็มโอ(GMOs) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย พืช GMOs คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ตัวอย่างของ พืช GMOs หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เทคนิคที่ใช้ในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืช
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืช
  หัวข้อย่อย ข้อดี หรือ ประโยชน์ ของ GMOs
  หัวข้อย่อย ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของ GMOs
  หัวข้อย่อย ข้อแตกต่างระหว่าง GMOs กับ GMO
  หัวข้อย่อย จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (GMM) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน (มีคำตอบ)
หัวข้อหลัก จีโนม (Genome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย จีโนมิกส์ (Genomics) คือ อะไร
หัวข้อหลัก การโคลนนิ่ง (Cloning) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ประโยชน์ หรือ ข้อดี ของการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย ประวัติการโคลนนิ่ง
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งมนุษย์
    หัวข้อย่อยระดับ 2 การโคลนนิ่งมนุษย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งสัตว์
  หัวข้อย่อย การโคลนนิ่งพืช
หัวข้อหลัก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คืออะไร
  หัวข้อย่อย การใช้ประโยชน์จาก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หัวข้อหลัก พลังงานทดแทน คือ อะไร
  หัวข้อย่อย พลังงานชีวมวล (Biomass Energy) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ชีวมวล (Biomass) คือ อะไร
หัวข้อหลัก พันธุกรรม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ลักษณะทางพันธุกรรม คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ลักษณะเด่น(Dominant Trait) คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 ลักษณะเด่นแบบสมบูรณ์ คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 ลักษณะเด่นแบบไม่สมบูรณ์ คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 ลักษณะเด่นร่วมกัน คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ลักษณะด้อย(Recessive Trait) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เทสครอส (Test Cross) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 การผสมกลับ (Back Cross) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โรคทางพันธุกรรม(Genetic Disorder) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 โรคเบาหวาน คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 อินซูลิน(Insulin) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 โรคทริปเปิ้ล X หรือ ทริปเปิ้ลเอ็กซ์ซินโดรม หรือ กลุ่มอาการทริปเปิ้ลเอ็กซ์ (Triple X Syndrome) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เอ็ดเวิร์ดซินโดรม หรือ กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward’s Syndrome) คือ อะไร
หัวข้อหลัก การกลายพันธุ์ หรือ การผ่าเหล่า หรือ มิวเทชั่น (Mutation) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เนื้องอก(Tumor) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โรคมะเร็ง(Cancer) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 มะเร็งปากมดลูก คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 ปัจจัยที่เป็นความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งปากมดลูก
หัวข้อหลัก ชีววิทยา(Biology) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เคมี (Chemistry) คือ อะไร
หัวข้อหลัก พันธุศาสตร์ (Genetics) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เมนเดล(Mendel) คือ ใคร (ชีวประวัติของเกรเกอร์ เมนเดล)
หัวข้อหลัก นิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Science) คือ อะไร
หัวข้อหลัก อณูชีววิทยา (Molecular Biology) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย PCR (พีซีอาร์) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (IT) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) คือ อะไร
หัวข้อหลัก จุลินทรีย์ (Microorganism) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เซลล์ (Cell) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย สเต็มเซลล์ (Stem Cell) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เซลล์พืช คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เซลล์สัตว์ คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ออร์แกเนลล์ (Organelle) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 นิวเคลียส (Nucleus) คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 นิวคลีโอลัส (Nucleolus) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม(ER) คือ อะไร
      หัวข้อย่อยระดับ 3 เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบผิวเรียบ (SER) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ไรโบโซม (Ribosome) คือ อะไร
หัวข้อหลัก เอนไซม์(Enzyme) คือ อะไร
หัวข้อหลัก โครโมโซม (Chromosome) คืออะไร
  หัวข้อย่อย โครงสร้างของโครโมโซม
  หัวข้อย่อย ออโตโซม (Autosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครมาทิน (Chromatin) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โครมาทิด (Chromatid) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่าง โครมาทิน (Chromatin) กับ โครมาทิด (Chromatid)
  หัวข้อย่อย โฮโมโลกัสโครโมโซม(Homologous Chromosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เซนโทรเมียร์(Centromere) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย นิวคลีโอโซม (Nucleosome) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โปรตีนฮิสโตน (Histone Protein) คือ อะไร
หัวข้อหลัก ดีเอ็นเอ(DNA) คืออะไร
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่าง ยีน(Gene) ดีเอ็นเอ(DNA) และ โครโมโซม(Chromosome)
  หัวข้อย่อย โครงสร้างของดีเอ็นเอ
  หัวข้อย่อย องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
    หัวข้อย่อยระดับ 2 นิวคลีโอไทด์ (Nucleotide) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย หน้าที่ของดีเอ็นเอ
  หัวข้อย่อย ความแตกต่างระหว่างดีเอ็นเอ(DNA)และอาร์เอ็นเอ(RNA)
  หัวข้อย่อย การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA Replication) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 ขั้นตอนการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ(DNA Replication)
    หัวข้อย่อยระดับ 2 รูปแบบการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ
หัวข้อหลัก ยีน (Gene) คืออะไร
  หัวข้อย่อย ยีนเด่น (Dominant Gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนด้อย (Recessive Gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โฮโมไซกัส ยีน(Homozygous Gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เฮเทอโรไซกัส ยีน(Heterozygous Gene) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย มัลติเปิลยีนส์ (Multiple Genes) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย แอลลีล หรือ อัลลีล (Allele) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 แอลลีลเด่น(Dominant Allele) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 แอลลีลด้อย(Recessive Allele) คือ อะไร
    หัวข้อย่อยระดับ 2 มัลติเปิลแอลลีลส์ (Multiple Alleles) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย จีโนไทป์ (Genotype) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ฟีโนไทป์ (Phenotype) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การถอดรหัส (Transcription) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย การแปลรหัส (Translation) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย อินตรอน (Intron) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เอ็กซอน (Exon) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนโครงสร้าง คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ยีนควบคุม คือ อะไร
  หัวข้อย่อย โลคัส (Locus) คือ อะไร
หัวข้อหลัก อาร์เอ็นเอ (RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) หรือ เมสเซนเจอร์ อาร์เอ็นเอ (messenger RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย ทีอาร์เอ็นเอ (tRNA) หรือ ทรานสเฟอร์ อาร์เอ็นเอ (transfer RNA) คือ อะไร
  หัวข้อย่อย อาร์อาร์เอ็นเอ (rRNA) หรือ ไรโบโซมอล อาร์เอ็นเอ (ribosomal RNA) คือ อะไร
ที่มา http://www.thaibiotech.info/what-is-cloning.php

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น